CHE-QA | ผลการประเมินจากคณะกรรมการแยกตามกลุ่มสาขาวิชา | ผลการประเมินจากคณะกรรมการฯ 3 ปีย้อนหลัง

รายงานสรุปผลการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาจากคณะกรรมการปี 2555
คณะเภสัชศาสตร์
องค์ประกอบที่ 4

ตัวบ่งชี้ ชื่อ ผลลัพธ์ ผลการประเมิน หลักฐาน
4.1 ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 5 3

๑.๑  แผนยุทธศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์

๑.๒  คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการวิจัยและบริการวิชาการ คณะเภสัชศาสตร์

๑.๓  คู่มือการบริหารงานวิจัย

๒.๑  ประมวลรายวิชา ชีวเภสัชกรรมและเภสัชจลนศาสตร์ โดย ภญ.ดร. คัทรียา เมฆจรัสกุล

๒.๒  ประมวลรายวิชา ชีวเคมีทางการแพทย์ โดย อ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมพิทักษ์

๓.๑  โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการงานเภสัชกรรมคลินิกครั้งที่ ๙ และ ๑๒/ ๒๕๕๖ เรื่อง Research Methodology I, II แบบ Self-directed Learning ในวันที่ ๑-๕ เมษายน ๒๕๕๖ ณ โรงแรมเซ็นทารา ดวงตะวัน จังหวัดเชียงใหม่และวันที่ ๘-๑๐ พฤษภาคม ๒๕๕๖ ณ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

๓.๒  โครงการอบรมทางวิชาการ เรื่อง กรอบแนวทางการประเมิณผลข้อเสนอโครงการวิจัยเพื่อการจัดสรรงบประมาณสนับสนุนการวิจัย (งบประมาณแผ่นดินประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗)

๓.๓  ใบประกาศเกียรติคุณ การผ่านการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง Secondary Metabolites From Extraction to Structure Elucidation

๓.๔  ใบตอบรับและขอเข้าประชุมสัมมนาของ ภญ.รศ.ดร.มยุรี ตันติสิระและอ.ดร.ศศิภาวรรณ มาชะนาที่เข้าร่วมโครงการประชุมสัมมนา เรื่อง การวิจัยค้นคว้าพัฒนายา เครือข่าย และยุทธศาสตร์

๔.๑  ประกาศคณะฯ เรื่อง การให้ทุนอุดหนุนการวิจัยแก่บุคลลากร

๔.๒  ประกาศคณะฯ เรื่อง ทุนสนับสนุนค่าใช้จ่ายไปเสนอผลงาน

๔.๓  ประกาศคณะฯ เรื่อง เงินรางวัลสำหรับการตีพิมพ์เผยแพร่บทความวิจัยและบทความวิชาการ

๕.๑  คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการวิจัยและบริการวิชาการ

๕.๒  ห้องปฏิบัติการ เอกสารข้อควรระวัง อื่นๆ ในห้อง ปฏิบัติการ

๕.๓  สัญญาขอรับทุนอุดหนุนการวิจัย

๕.๔  ประกาศคณะฯ เรื่อง หลักเกณฑ์การจ่ายเงินรางวัลนักวิจัย สำหรับการตีพิมพ์เผยแพร่บทความวิจัยในวารสาร พ.ศ. ๒๕๕๖

๕.๕  หนังสือที่ ศธ ๖๖๐๒.๕/๑๘๖๐ สัญญาขอรับทุนอุดหนุนการวิจัย อ. อนุสรณ์

๕.๖  บันทึกข้อความ ที่ ศธ ๖๖๐๙/ว๑๑๖๔ Prof. Satoh และ ศธ ๖๖๐๒.๕/ว๒๒๕๘ (โครงการอบรมกรอบทางการประเมินโครงการวิจัย)

๕.๗  รายงานการประชุมคณะกรรมการวิจัยครั้งที่ ๓/๒๕๕๖

รายงานการติดตามและงบประเมินผลการสนับสนุนการวิจัย ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๕(แบบ วจ ๐๔)รายงานการประชุมคณะกรรมการวิจัยและบริการวิชาการ คณะเภสัชศาสตร์
4.2 ระบบและกลไกการจัดการความรู้จากงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 3 3

๑.๑ เอกสารการประชุมทุนวิจัยงบประมาณสำหรับการพัฒนาตนเองของอาจารย์จากเงินได้ คณะเภสัชศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ ๖๐๐,๐๐๐ บาท

๑.๒ ผลงานวิจัยในที่ประชุมในประเทศ เรื่อง การประยุกต์ใช้พอลิเมอร์ที่ได้จากทรัพยากรทางทะเลในทางเภสัชกรรม ตีพิมพ์ในวารสารวิทยาศาสตร์บูรพา โดย ภก.ดร.กัมปนาท หวลบุตตา

http://www.pharm.buu.ac.th/

๓.๑ การเผยแพร่ผลงานวิจัยของคณาจารย์ที่ตีพิมพ์ในวารสารทั้งในและต่างประเทศ เช่น เรื่อง การประยุกต์ใช้พอลิเมอร์ที่ได้จากทรัพยากรทางทะเลในทางเภสัชกรรม ตีพิมพ์ในวารสารวิทยาศาสตร์บูรพา และ เรื่อง การประยุกต์ใช้เทคนิค FTIR-microscopectroscopyในการวิเคราะห์ความแตกต่างของน้ำผึ้งหลวงและน้ำผึ้งชันโรง ตีพิมพ์ในวารสารประจำปีของสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน จังหวัดนครราชสีมาโดย ภก.ดร.กัมปนาท หวลบุตตา

๓.๒ ผลงานวิจัยในที่ประชุมในประเทศ เรื่อง The study of application for discrimination of royal honey bee from 3 Thai stingless honey bee (Trigona spp.) using FTIR-microspectroscopyนำเสนอ ณ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์  โดย อ. ดร.ศศิภาวรรณ มาชะนา

๓.๓ ผลงานวิจัยในที่ประชุมวิชาการต่างประเทศ เรื่องSuppresion of nitric oxide production by compounds from Garciniamangostana in HAPI microgilia cells โดย อ.ดร. อนุสรณ์ ธรรมพิทักษ์

๓.๔ การเผยแพร่งานวิจัย เรื่อง Advance technologies for assessment of polymer swelling and erosion behaviors in pharmaceutical aspect โดย ภก.ดร.กัมปนาท หวลบุตตา


ระเบียบมหาวิทยาลัยบูรพาว่าด้วยลิขสิทธิ์ พ.ศ.๒๕๕๑ ( http://tlo.buu.ac.th/document/copy.pdf )ระเบียบมหาวิทยาลัยว่าด้วยสิทธิบัตรและอนุสิทธิบัตร พ.ศ. ๒๕๕๑ (http://tlo.buu.ac.th/document/patent.pdf)
4.3 เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ต่อจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัยประจำ ตัวตั้ง=0.000 ตัวหาร =0.000 ผลลัพธ์ =(จำนวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรือสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบัน = 1,880,000.00/จำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัยประจำ=21.00)=89,523.81 บาทเมื่อเทียบค่าคะแนนเต็ม 5 = 150,000.00 บาท ดังนั้นคะแนนที่ได้เท่ากับ 2.984) 3.03

- สัญญารับทุนสนับสนุนการวิจัย (๘๐๐,๐๐๐ บาท)

- ผลการพิจารณาทุนสนับสนุนการวิจัย (๔๘๐,๐๐๐ บาท)
๔.๕ งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ 4.25 - ผลงานวิจัยของคณาจารย์ที่ตีพิมพ์ในวารสารทั้งในและต่างประเทศ เช่น เรื่อง การประยุกต์ใช้พอลิเมอร์ที่ได้จากทรัพยากรทางทะเลในทางเภสัชกรรม ตีพิมพ์ในวารสารวิทยาศาสตร์บูรพา และ เรื่อง การประยุกต์ใช้เทคนิค FTIR-microscopectroscopyในการวิเคราะห์ความแตกต่างของน้ำผึ้งหลวงและน้ำผึ้งชันโรง ตีพิมพ์ในวารสารประจำปีของสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน จังหวัดนครราชสีมาโดย ภก.ดร.กัมปนาท หวลบุตตา

- ผลงานวิจัยในที่ประชุมในประเทศ เรื่อง The study of application for discrimination of royal honey bee from 3 Thai stingless honey bee (Trigona spp.) using FTIR-microspectroscopyนำเสนอ ณ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์  โดย อ. ดร.ศศิภาวรรณ มาชะนา

- ผลงานวิจัยในที่ประชุมวิชาการต่างประเทศ เรื่องSuppresion of nitric oxide production by compounds from Garciniamangostana in HAPI microgilia cells โดย อ.ดร. อนุสรณ์ ธรรมพิทักษ์

- การเผยแพร่งานวิจัย เรื่อง Advance technologies for assessment of polymer swelling and erosion behaviors in pharmaceutical aspect โดย ภก.ดร.กัมปนาท หวลบุตตา

๔.๖ งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นำไปใช้ประโยชน์ 1 - ผลงานวิจัยของคณาจารย์ที่ตีพิมพ์ในวารสารทั้งในและต่างประเทศ เช่น เรื่อง การประยุกต์ใช้พอลิเมอร์ที่ได้จากทรัพยากรทางทะเลในทางเภสัชกรรม ตีพิมพ์ในวารสารวิทยาศาสตร์บูรพา และ เรื่อง การประยุกต์ใช้เทคนิค FTIR-microscopectroscopyในการวิเคราะห์ความแตกต่างของน้ำผึ้งหลวงและน้ำผึ้งชันโรง ตีพิมพ์ในวารสารประจำปีของสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน จังหวัดนครราชสีมาโดย ภก.ดร.กัมปนาท หวลบุตตา

- ผลงานวิจัยในที่ประชุมในประเทศ เรื่อง The study of application for discrimination of royal honey bee from 3 Thai stingless honey bee (Trigona spp.) using FTIR-microspectroscopyนำเสนอ ณ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์  โดย อ. ดร.ศศิภาวรรณ มาชะนา

- ผลงานวิจัยในที่ประชุมวิชาการต่างประเทศ เรื่องSuppresion of nitric oxide production by compounds from Garciniamangostana in HAPI microgilia cells โดย อ.ดร. อนุสรณ์ ธรรมพิทักษ์

- การเผยแพร่งานวิจัย เรื่อง Advance technologies for assessment of polymer swelling and erosion behaviors in pharmaceutical aspect โดย ภก.ดร.กัมปนาท หวลบุตตา

๔.๗ ผลงานวิชาการที่ได้รับการรับรองคุณภาพ 2 - ผลงานวิจัยของคณาจารย์ที่ตีพิมพ์ในวารสารทั้งในและต่างประเทศ เช่น เรื่อง การประยุกต์ใช้พอลิเมอร์ที่ได้จากทรัพยากรทางทะเลในทางเภสัชกรรม ตีพิมพ์ในวารสารวิทยาศาสตร์บูรพา และ เรื่อง การประยุกต์ใช้เทคนิค FTIR-microscopectroscopyในการวิเคราะห์ความแตกต่างของน้ำผึ้งหลวงและน้ำผึ้งชันโรง ตีพิมพ์ในวารสารประจำปีของสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน จังหวัดนครราชสีมาโดย ภก.ดร.กัมปนาท หวลบุตตา

- ผลงานวิจัยในที่ประชุมในประเทศ เรื่อง The study of application for discrimination of royal honey bee from 3 Thai stingless honey bee (Trigona spp.) using FTIR-microspectroscopyนำเสนอ ณ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์  โดย อ. ดร.ศศิภาวรรณ มาชะนา

- ผลงานวิจัยในที่ประชุมวิชาการต่างประเทศ เรื่องSuppresion of nitric oxide production by compounds from Garciniamangostana in HAPI microgilia cells โดย อ.ดร. อนุสรณ์ ธรรมพิทักษ์

- การเผยแพร่งานวิจัย เรื่อง Advance technologies for assessment of polymer swelling and erosion behaviors in pharmaceutical aspect โดย ภก.ดร.กัมปนาท หวลบุตตา