CHE-QA | ผลการประเมินจากคณะกรรมการแยกตามกลุ่มสาขาวิชา | ผลการประเมินจากคณะกรรมการฯ 3 ปีย้อนหลัง

รายงานสรุปผลการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาจากคณะกรรมการปี 2555
คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์
องค์ประกอบที่ 2

ตัวบ่งชี้ ชื่อ ผลลัพธ์ ผลการประเมิน หลักฐาน
2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร 7 5

คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์มหาวิทยาลัยบูรพา  มีระบบและกลไกการการขออนุมัติหลักสูตรใหม่ และการปรับปรุงหลักสูตร พ.ศ. ๒๕๕๔ และขั้นตอนการดำเนินการ

- คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์มหาวิทยาลัยบูรพา  มีการดำเนินการตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒

- คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์มหาวิทยาลัยบูรพา มีการดำเนินการปรับปรุงหลักสูตรระดับปริญญาโท และปริญญาเอกคณะภูมิสารสนเทศศาสตร์มหาวิทยาลัยบูรพา  มีระบบและกลไกการการขอยกเลิกหลักสูตร พ.ศ. ๒๕๕๔ และขั้นตอนการดำเนินการ

ทุกหลักสูตรที่เปิดสอนโดยคณะภูมิสารสนเทศศาสตร์นั้นเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรและดำเนินการให้เป็นตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรตลอดเวลาที่มีการจัดการเรียนการสอนทั้งเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๘-๒๕๕๒ และกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

-  มคอ. ๒

-  มคอ. ๓, ๔

-  มคอ. ๕, ๖

มคอ. ๗

- มีคณะกรรมการรับผิดชอบควบคุมกำกับให้มีการดำเนินการได้ครบถ้วนทั้งข้อ ๑ ข้อ ๒และข้อ ๓ ข้างต้นตลอดเวลาที่จัดการศึกษา

- มีคณะกรรมการประเมินหลักสูตร

- มีการประเมินหลักสูตร 

มีคณะกรรมการรับผิดชอบควบคุมกำกับให้มีการดำเนินการได้ครบถ้วนทั้งข้อ ๑ ข้อ ๒และข้อ ๓ ข้างต้นตลอดเวลาที่จัดการศึกษา

- มีคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร

- การพัฒนาหลักสูตรตามข้อ ๔ 

- มีคณะกรรมการรับผิดชอบควบคุมกำกับให้มีการดำเนินการได้ครบถ้วนทั้งข้อ ๑ ข้อ ๒ และข้อ ๓ ข้างต้นตลอดเวลาที่จัดการศึกษา

- มีคณะกรรมการประเมินหลักสูตร

- มีการประเมินหลักสูตร 

- มีคณะกรรมการรับผิดชอบควบคุมกำกับให้มีการดำเนินการได้ครบถ้วนทั้งข้อ ๑ ข้อ ๒และข้อ ๓ ข้างต้นตลอดเวลาที่จัดการศึกษา

- มีคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร

- การพัฒนาหลักสูตรตามข้อ ๔ 
2.2 อาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 2.45
2.3 อาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 5
2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน 6 4
2.5 ห้องสมุด อุปกรณ์การศึกษา และสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ 7 5 มหาวิทยาลัยบูรพา มีจัดบริการมหาวิทยาลัย บูรพาเพื่อให้นิสิตมีเครื่องคอมพิวเตอร์ใช้ในอัตราไม่สูงกว่า ๘ FTES ต่อเครื่อง- ผลการประเมินคุณภาพการให้บริการห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้อื่นๆ ผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และมีการฝึกอบรมการใช้งานแก่นิสิต ตามมหาวิทยาลัยบูรพาผลการประเมินคุณภาพการให้บริการด้านกายภาพที่เหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอนและการพัฒนานิสิต อาทิ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ อุปกรณ์การศึกษา และจุดเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตในระบบ ไร้สาย ตามมหาวิทยาลัยบูรพาผลการประเมินคุณภาพในการให้บริการสิ่งอำนวยความสะดวกที่จำเป็นอื่นๆ อาทิ งานทะเบียนนิสิตผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การบริการอนามัยและการรักษาพยาบาล การจัดการหรือจัดบริการด้านอาหารและสนามกีฬา ตามมหาวิทยาลัยบูรพา ผลการประเมินคุณภาพในการให้บริการสาธารณูปโภคและรักษาความปลอดภัยของอาคารตลอดจนบริเวณโดยรอบ อาทิ ประปา ไฟฟ้า ระบบกำจัดของเสีย การจัดการขยะ รวมทั้งมีระบบและอุปกรณ์ป้องกันอัคคีภัยในบริเวณอาคารต่างๆ โดยเป็นไปตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ตามมหาวิทยาลัยบูรพา
2.6 ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน 6 4 ทุกหลักสูตรของคณะภูมิสารสนเทศศาสตร์  มีรายละวิชาที่มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญทุกหลักสูตร 

ะภูมิสารสนเทศศาสตร์  ได้มีการจัดทำรายละเอียดของรายวิชาใน ๒ ลักษณะได้แก่

๒.๑ การจัดการเรียนการสอนทุกรายวิชาในแต่ละภาคเรียนมีการแจกหรือชี้แจงประมวลรายวิชาในสัปดาห์แรกของการเรียนการสอน

๒.๒ สำหรับหลักสูตรที่เป็นตามกรอบ TQF ที่ดำเนินการแล้ว  หลักสูตรได้มีการจัดทำรายละเอียดของรายวิชาก่อนเปิดสอนในภาคปลายปีการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓ ตามที่กำหนดและเผยแพร่ให้นิสิตทราบในสัปดาห์แรกของการเรียนการสอน

การจัดรายวิชาฝึกงานหรือกำหนดให้นิสิตฝึกงานเพื่อส่งเสริมการได้รับ

ประสบการณ์จริงในหน่วยงานที่มีผู้เชี่ยวชาญโดยตรงเกี่ยวข้องกับการเรียน

การสอนในหลักสูตร

คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์ได้จัดทำโครงการเรียนเชิญผู้มีประสบการณ์ทางวิชาการหรือในวิชาชีพจากหน่วยงานหรือชุมชนภายนอกเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนการสอน

การจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาจากการวิจัยโดยจัดโครงการเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการวิจัยเช่น รายวิชาระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์โดย อ.ดร.ณรงค์  พลีรักษ์มหาวิทยาลัยบูรพาได้จัดให้มีการประเมินโดยใช้แบบประเมินจากระบบการประเมินการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยบูรพาซึ่งในส่วนของการประเมินผลความพึงพอใจของผู้เรียนต่อคุณภาพการจัดการเรียนการสอนปีการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๕ ของคณะภูมิสารสนเทศศาสตร์ในทุกรายวิชา
2.7 ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิผลการเรียนตามคุณลักษณะของบัณฑิต 5 4 คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์  ได้มีการสำรวจคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ตามความต้องการของผู้ใช้บัณฑิตสำหรับทุกหลักสูตรระดับปริญญาตรีตามที่มหาวิทยาลัยดำเนินการคณะภูมิสารสนเทศศาสตร์  ได้นำผลสำรวจคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์มาใช้ในการปรับปรุงหลักสูตรโดยเฉพาะประเด็นการกำหนดโครงสร้างหลักสูตรการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนสื่อการศึกษาและการประเมินผลที่จะใช้ในหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕5

คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์ มีการส่งเสริมสนับสนุนทรัพยากรทั้งด้านบุคลากร เทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนี้

ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ห้องสมุด ห้องประชุม ห้องปฏิบัติการสำนักงาน ห้องพักอาจารย์ ห้องโสตทัศนูปกรณ์  ศูนย์ภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศภาคตะวันออก และมีอุปกรณ์ที่ประกอบการสอนครบ ได้แก่ โทรทัศน์ เครื่องฉายโปรเจคเตอร์ เครื่องเสียง คอมพิวเตอร์ เครื่องกำหนดตำแหน่งบนพื้นผิวโลก  แผนที่ภูมิประเทศ แผนที่ธรณีวิทยา  ห้องปฏิบัติการดินหินแร่  กล้องสำรวจ กล้องมองภาพถ่ายทางอากาศสามมิติ กล้องวัดระดับ กล้องวีดีโอ กล้องถ่ายรูป

ระบบและกลไกที่คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์  ได้ใช้ในการส่งเสริมให้นิสิตเข้าร่วมกิจกรรมการประชุมทางวิชาการในระดับต่างๆ ดังนี้

ส่งนิสิตเข้าร่วมกิจกรรมวิชาการที่ส่งเสริมงานวิจัย การประชุมวิชาการนานาชาติ 

คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์  มีจัดโครงการ ปฏิบัติธรรมและบำเพ็ญประโยชน์เพื่อส่งเสริมการพัฒนาพฤติกรรมด้านคุณธรรมจริยธรรมของคณาจารย์และนิสิตคณะภูมิสารสนเทศศาสตร์ 

2.8 ระดับความสำเร็จของการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมที่จัดให้กับนักศึกษา 4 4 คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์  มีการกำหนดพฤติกรรมด้านคุณธรรมจริยธรรมสำหรับนิสิตที่ต้องการส่งเสริมไว้เป็นลายลักษณ์อักษร

คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์ ได้เผยแพร่ประชาสัมพันธ์พฤติกรรมด้านคุณธรรมจริยธรรมสำหรับนิสิตให้ผู้บริหารคณาจารย์นิสิตและผู้เกี่ยวข้องทราบที่งานประชาสัมพันธ์ของคณะ

คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์  มีจัดโครงการ ปฏิบัติธรรมและบำเพ็ญประโยชน์เพื่อส่งเสริมการพัฒนาพฤติกรรมด้านคุณธรรมจริยธรรมของคณาจารย์และนิสิตคณะภูมิสารสนเทศศาสตร์ คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์  การประเมินผลจัดโครงการ ปฏิบัติธรรมและบำเพ็ญประโยชน์เพื่อส่งเสริมการพัฒนาพฤติกรรมด้านคุณธรรมจริยธรรมของคณาจารย์และนิสิตคณะภูมิสารสนเทศศาสตร์ 
๒.๑ บัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน ๑ ปี 3.3
๒.๒ คุณภาพของบัณฑิตปริญญาตรี โทและเอกตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษาแห่งชาติ 5
๒.๓ ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ 5
๒.๑๔ การพัฒนาคณาจารย์ 2.73